ความหมายของเพลงพืนบ้าน

  ที่กลุ่มชนในท้องถิ่นต่างๆ ประดิษฐ์เนื้อหา ท่วงทำนองและลีลาการร้องการเล่น เป็นแบบแผนตามความนิยมและสภาพแวดล้อมของท้องถิ่นนั้น..


ที่มาและพัฒนาการของเพลงพืนบ้าน

  เพลงพื้นบ้านของไทยเรานั้นมีมาช้านานแล้ว ถ่ายทอดกันโดยทางมุขปาฐะ จำ ต่อๆ กันมาหลายชั่วอายุคน เชื่อกันว่ามีกำเนิดก่อนศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหง มหาราชเสียอีก..


ประเภทของเพลงพื้นบ้าน

  เพลงพื้นบ้านโดยทั่วไปนั้นมีอยู่ด้วยกันหลายชนิด พอจะแยกประเภทได้ ดังนี้คือ แบ่งตามผู้เล่นได้ 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ 1.เพลงเด็ก 2.เพลงผู้ใหญ่..


ลักษณะของเพลงพื้นบ้าน

  เป็นการเกี้ยวพาราสี หรือการซักถามโต้ตอบกัน ความเด่นของเพลงพื้นบ้านอยู่ที่ ความไพเราะ คารมหรือถ้อยคำง่ายๆ แต่มีความหมายกินใจ ใช้ไหวพริบปฏิภาณ ในการร้องโต้ตอบกั้น..


แก่นแท้เพลงพื้นบ้าน

  เพลงพื้นบ้านเป็นงานของชาวบ้านซึ่งถ่ายทอดมา โดยการเล่าจากปากต่อปาก อาศัยการฟังและการจดจำไม่มีการจดบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร ข้อที่น่าสังเกต ก็คือ..


ความเรียบง่ายของเพลงพื้นบ้าน

  เพลงพื้นบ้านยังคงยึดถือลักษณะดั้งเดิมของมนุษย์เอาไว้  ข้อนี้อาจจะทำให้เรา เห็นว่าเพลงพื้นบ้านขาดการปรับปรุงและขาดวิวัฒนาการ ที่จริงการร้องเพลงที่มี ีเครื่องดนตรีประกอบมากๆ ก็ไพเราะอย่างหนึ่ง..


การเน้นความสนุกสนานเป็นหลัก

  เพลงพื้นเมืองของเราจึงมักเน้นอยู่สองอย่าง  ซึ่งจะออกมาในรูปของการใช้คำ สองแง่สองง่าม การเว้นเสียงซึ่งเรื่องที่ทุกข์มากๆ การใช้คำสองแง่สองง่าม  อย่างเช่น เพลงฉ่อยของโรงพิมพ์วัดเกาะ..


การมีรูปแบบที่คล้ายคลึงกัน

  ลักษณะเด่นที่สุดของเพลงพื้นบ้าน คือ มีความเรียบง่าย ฟังแล้วเข้าใจทันที ถ้า จะมีการเปรียบเทียบแฝงสัญลักษณ์อย่างไร ก็สามารถแปลความหมายได้โดยไม่ ยากนัก..


รูปแบร่วมของเพลงพื้นบ้าน

  แยกกว้างๆ ได้เป็นด้านเนื้อหา และการเรียงลำดับเรื่อง ด้านถ้อยคำ ด้านเนื้อหา และการเรียงลำดับเรื่อง เนื่องจากเพลงพื้นเมืองยังแยกได้ออกเป็น เพลงโต้ตอบ อย่างสั้น และเพลงโต้ตอบอย่างยาวอีก และเนื้อหารูปแบบของเพลง 2 พวก อาจ แยกได้ด้วย เพื่อความสะดวก เราจึงแยกพิจารณาเช่นกัน..


บัญญัติแปดประการ

  บัญญัติ 8 ประการที่นิยามกว้างๆ ไว้แล้วนั้น  ใช่ว่าจะเป็นปรากฏการณ์ที่เพิ่งพบ
เพียงแค่เมื่อ 30 กว่าปีมาแล้วเท่านั้น จากทฤษฎีที่ตั้งขึ้นนี้ เชื่อว่าบัญญัติ 8 ประ การนี้ คนไทยเราปฏิบัติสืบต่อกันมาอย่างครบถ้วนตั้งแต่คนไท คนไตกลุ่มต่างๆ ยังไม่รวมตัวกันมาสถาปนา
..


เพลงปฏิพากย์

  คำว่า “ปฏิ” หมายถึง โต้ตอบ ส่วนคำว่า “พากย์” หมายถึง การใช้คำพูด ดังนั้น เพลงปฏิพากย์จึงหมายถึงเพลงที่ร้องโต้ตอบกันระหว่างผู้ชายกับผู้หญิง โดยใช้ ้ปฏิภานไหวพริบหรือที่เรียกว่า “ร้องแก้” นั่นเอง..


การแบ่งภูมิภาคเพลงพื้นบ้าน

  เพลงพื้นบ้านภาคกลาง, เพลงพื้นบ้านภาคเหนือ, เพลงพื้นบ้านภาคตะวันออก เฉียงเหนือ, เพลงพื้นบ้านภาคใต้..


คุณค่าของเพลงพื้นบ้าน

  เพลงพื้นเมืองเป็นมรดกทางวรรณกรรม ชาวบ้านนิรนามได้แต่งเพลงของเขาขึ้น บทเพลงนี้อาจจะมาจากความเป็นคนเจ้าบทเจ้ากลอน และความอยู่ไม่สุขของ ปาก แต่บังเอิญหรือบางทีไม่ใช่บังเอิญ เพลงของเขาไพเราะและกินใจชาวบ้าน คนอื่นๆ ด้วย ดังนั้นเพลงดังกล่าวจึงได้แพร่กระจายออกไปเรื่อยๆ และในที่สุด ไม่ มีใครรู้ว่าใครเป็นคนแต่งเพลงบทนั้น และแต่งเมื่อใด..


 
Copyright © 2009 by Team FTD, Darunanukul Huathanon School