Content on this page requires a newer version of Adobe Flash Player.

Get Adobe Flash player

 




 
การแก้สมการพหุนาม   หน้าถัดไป

  ถ้า P(x) =  
  เมื่อ n I+
 
และ เป็นจำนวนเชิงซ้อน
  โดยที่ an 0
  จะเรียก P(x) ว่า พหุนามกำลัง n
  และเรียก P(x) = 0    ว่า สมการพหุนามกำลัง n
  1. P(x) =  
    เป็นพหุนามกำลัง 3 เพราะเลขชี้กำลังสูงสุดเป็น 3  
  2. P(x) =  
    เป็นพหุนามกำลัง 4 เพราะเลขชี้กำลังสูงสุดเป็น 4  
  3. P(x) =  
    ไม่เป็นพหุนาม เพราะมีเลขชี้กำลังติดลบ  
  4. P(x) =  
    เป็นพหุนามกำลัง 3 เพราะเลขชี้กำลังสูงสุดเป็น 3  

  ทฤษฎีบทเศษเหลือ  
  ถ้า P(x) =
  เมื่อ n I+
 
และ เป็นจำนวนเชิงซ้อน
  โดยที่ an 0
  ถ้าหาร P(x) ด้วย x - c เมื่อ c เป็นจำนวนเชิงซ้อนใด ๆ แล้วจะเหลือเศษการหารเท่ากับ P(c)
 
จงหาเศษจากการหารพหุนาม ด้วย x - 2
  จากโจทย์ P(x) =
  ตัวหารคือ x - 2    
  นั่นคือ c = 2
  จากทฤษฎีบทเศษเหลือ จะได้ว่า เศษจากการหาร P(x) ด้วย x - 2 เท่ากับ P(2)
  จาก P(x) =
  จะได้ P(2) =
      = 12 - 6 + 2
      = 8
 
ดังนั้น เศษจากการหารพหุนาม ด้วย x - 2 เท่ากับ 8  

 
จงหาเศษจากการหารพหุนาม ด้วย x + 2
  จากโจทย์ P(x) =
  ตัวหารคือ x + 2 = x - (-2)
  นั่นคือ c = -2
  จากทฤษฎีบทเศษเหลือ จะได้ว่า เศษจากการหาร P(x) ด้วย x + 2 เท่ากับ P(-2)
  จาก P(x) =
  จะได้ P(2) =
      = 16 + 8 + 6 + 1
      = 31
 
ดังนั้น เศษจากการหารพหุนาม ด้วย x + 2 เท่ากับ 31  

  หน้าถัดไป
 
สร้างสรรค์โดย

ทีมงานนางฟ้าวิชาคณิต
โรงเรียนบึงมะลูวิทยา
Resolution Support : 1024 x 768