อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ในการเกิดปฏิกิริยาเคมี
สารตั้งต้นจะเปลี่ยนไปเป็นสารผลิตภัณฑ์
ขณะที่ปฏิกิริยาดำเนินไปสารผลิตภัณฑ์จะมีปริมาณเพิ่มมากขึ้นในขณะเดียวกันสารตั้งต้นก็จะมีปริมาณลดลงด้วย
ดังนั้นสารตั้งต้นและสารผลิตภัณฑ์จึงมีความสัมพันธ์กัน
โดยทั่วไปสามารถเลือกวัดปรมิาณของสารที่เกิดขึ้นหรือลดลงจากปริมาณของสารที่วัดได้ง่ายและสะดวก
เช่น มวล ความดัน ความเข้มข้น
ซึ่งอัตราการเกิดปฏิกิริยาสามารถวัดได้
ดังนี้ อัตราการเกิดสารผลิตภัณฑ์
= \
อัตราการลดลงของสารตั้งต้น
=
โดยที่
คือ ปริมาณของสารหรือความเข้มข้นของสาร มีหน่วยเป็น
โมลต่อลูกบาศก์เดซิเมตรหรือโมลต่อลิตรข
คือ การเปลี่ยนแปลง = ปริมาณของสารหลังเกิดปฏิกิริยา
- ปริมาณของสารก่อนเกิดปฏิกิริยา'
คือ ระยะเวลาที่เปลี่ยนแปลงไป มีหน่วยเป็นวินาที
+
แทน การเพิ่มขึ้นของสารเ
-
แทน
การลดลงของสาร จากสมการเคมี โดยทั่วไป
ดังนี้ aA
+ bB cC + dD สามารถเขียนความสัมพันธ์ของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี(R)
ได้ดังนี้ R = = - = + = + R = โดยหน่วยที่ใช้จะเป็น mol/s, mol/L.s หรือ mol / .s
|