- 1. เพลี้ยอ่อน Aphid.
- Aphis gossypii (Aphidiae)
- ลักษณะ ตัวอ่อนที่มีสีต่าง ๆ กัน ส่วนใหญ่สีเขียวเข้มจนเกือบดำ
แต่ถ้าหากตัวอ่อนเกิดใต้กลุ่มใบที่หนาแน่นมาก และอุณหภูมิสูง
ตัวอ่อนอาจมีขนาดเล็กกว่า 1 มิลลิเมตร และสีซีดเหลืองหรือเกือบขาว
- ชีพจักร ในเขตร้อนบ้านเรา จะไม่ออกเป็นไข่
แต่ออกลูกเป็นตัวตามใบของพืชและช่อดอก ตัวอ่อนจะแก่ใน 4-20 วัน ขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ
และจะให้ตัวอ่อนประมาณ 20-140 ตัวต่อครั้งทุก 2-9 วัน
- การทำลาย ดูดกินน้ำเลี้ยงพืช
- การป้องกัน ใช้สารเคมี พิษตกค้างน้อยที่สุด หรือไม่ควรใช้เลย
การพรวนดินและกำจัดวัชพืช
- Acherontia lachesis (Sphingidae)
- ลักษณะ ตัวหนอนมีสีเขียวมีแถบสีเหลืองขอบฟ้าข้างลำตัวขนาดโตเต็มที่
10-12 เซนติเมตร
- การทำลาย ตัวหนอนกัดกินใบ
- ชีพจักร ผีเสื้อวางไข่สีเขียวเป็นใบเดี่ยวตามใบพืชอาศัยระยะไข่ฟักประมาณ
5 วัน ออกเป็นตัวหนอนกัดกินใบประมาณ 3 สัปดาห์ เข้าดักแด้ในดินระยะดักแด้ประมาณ 2
สัปดาห์ ตัวแก่เป็นผีเสื้อสีน้ำตาล
- การป้องกัน ใช้สารเคมี พิษตกค้างน้อยที่สุด
การเก็บเกี่ยว
จัดทำโดยครูพูนศักดิ์
สักกทัตติยกุล โรงเรียสตรีศรีสุริโยทัย เขตสาทร กทม.
จำนวนผู้เข้าใช้งาน ตั้งแต่วันอังคารที่ 11 กรกฎาคม 2006
thaigoodview.com Version 13.0
บริหารและจัดการโดยทีมงานชาวมัธยมศึกษาและประถมศึกษา
e-mail: webmaster@thaigoodview.com
Copyright(c) 2006 www.thaigoodview.com. All rights reserved.
|