1.
ข้อใดไม่ได้อยู่ในระบบสุริยะจักรวาล
ก.ดวงอาทิตย์
ข. ดาวเคราะห์
ค.ดาวฤกษ์ต่าง
ๆ
ง.
ดวงจันทร์ของดาวเคราะห์
2.
ทฤษฎีของผู้ใดที่กล่าวว่า
ดวงอาทิตย์และดาวเคราะห์ในระบบสุริยะเกิดจากแรงเหวี่ยงของกลุ่มก๊าซร้อนที่หมุนตัว
ก่อให้เกิดวงแหวนหมุนกระจายออกจากจุดศูนย์กลาง"
ก.
เจมส์ ยีนส์
ข.คานท์และลาพลาส
ค. วิปเปิ้ล
ง. เฟรด ฮอยล์และฮานส์ อัลเฟน
3..ในปัจจุบันนี้เรายังไม่สามารถบอกได้แน่นอนว่าโลกเกิดขึ้นได้อย่างไร
เพราะเหตุใด
ก. นักวิทยาศาสตร์ยุติการศึกษาข้อมูลต่าง
ๆ แล้ว
ข. ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทำให้ได้หลักฐานและข้อมูลใหม่เพิ่มขึ้นเรื่อย
ๆ
ค.นักวิทยาศาสตร์เสนอทฤษฎีใหม่เกี่ยวกับการเกิดโลกอยู่เรื่อย
ๆ
ง.นักวิทยาศาสตร์กำลังศึกษาดาวเคราะห์ดวงอื่นว่าเกิดขึ้นได้อย่างไร
ก็จะบอกได้ว่าโลกเกิดขึ้นได้อย่างไร
จงศึกษาภาพที่แสดงชั้นต่าง
ๆ
ของโครงสร้างภายในโลกและความหนาโดยประมาณของแต่ละชั้น
เพื่อใช้ตอบคำถามข้อ 4-5

4.
ส่วนที่เป็นแผ่นดินและน้ำจะอยู่ชั้นอะไร
ก. ชั้น A
ข.
ชั้น B
ค. ชั้น C
ง. ชั้น D
5.
ส่วนใดของโลกที่มีความหนาแน่นมากที่สุด
ก. ชั้น A
ข.
ชั้น B
ค. ชั้น C
ง. ชั้น D
6. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถูกต้อง
ก.
ส่วนประกอบของโลกที่อยู่ใต้เปลือกโลกลงไปจะเป็นของเหลวและก๊าซที่ร้อนจัด
ข.
ส่วนประกอบของโลกส่วนบนสุดและแกนในสุดจะเป็นของแข็ง
ค.
ส่วนประกอบของโลกส่วนบนสุดเป็นของแข็งถัดลงไปเป็นของเหลวและชั้นในสุดเป็นก๊าซ
ร้อนจัด
ง. ส่วนประกอบของโลกส่วนบนสุดเป็นของแข็ง
ถัดลงไปเป็นของเหลวและก๊าซและชั้นในสุดเป็นของเหลวหนืด
7.
เมื่อเกิดภูเขาไฟขึ้นของเหลวที่ไหลออกมาน่าจะมาจากโลกชั้นใด
ก.
เปลือกโลกชั้นบน
ข.
เปลือกโลกชั้นล่าง
ค. แมนเทิล
ง.
แก่นโลก
8.ความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนสถานะของสสารสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในด้านใด
เมื่อกำหนดให้
1 =
การทำเหรียญกษาปณ์
2 =
การทำนาเกลือ
3 =
การทำกระดาษ
4 =
การผลิตแก้วน้ำ
5 =
การทำน้ำแข็ง
ข้อที่ถูก
คือ
ก. ข้อ 1,2 และ 3
ข. ข้อ 1,3,4 และ 5
ค. ข้อ 1,2,4 และ
5
ง. ข้อ 1,2,3,4 และ5
9. กำหนดแผนผังแสดงการเปลี่ยนสถานะดังนี้

การเปลี่ยนสถานะของสารในขั้นตอนใดที่ต้องดูดพลังงานความร้อน
ก.
ขั้น 1 และ
2
ข.ขั้น
3 และ 4
ค.
ขั้น 2 และ
3
ง.
ขั้น 1 และ 4
10. ถ้าแบ่งสสารออกเป็นหน่วยย่อยที่สุดโดยแต่ละหน่วยยังคงรักษาสมบัติเดิมของสารได้
หน่วยย่อยที่สุดนี้เรียกว่า
ก. ธาตุ
ข.
อะตอม
ค. โมเลกุล
ง.สารประกอบ
11.O2 หรือ
ก๊าซออกซิเจน และ H2 หรือ
ก๊าซไฮโดรเจน ตรงกับข้อใด
ก. อะตอม
ข.สารประกอบ
ค.
โมเลกุลของธาตุ
ง. ของผสม
12. ข้อใดอธิบายสถานะของสสารในโลกได้ถูกต้องที่สุด
ก.
ถ้าอนุภาคของสสารอยู่กันอย่างหลวม
ๆ จะเคลื่อนตัวได้ยาก
ข.
ของแข็งมีอนุภาคอยู่กันอย่างหนาแน่นมาก
จึงเปลี่ยนรูปร่างได้ยาก
ค.อนุภาคของของเหลวอยู่กันอย่างกระจัดกระจาย
จึงเปลี่ยนรูปร่างได้ตามภาชนะที่ใส่
ง. เมื่อสสารต่าง
ๆ
เปลี่ยนสถานะองค์ประกอบของสสารจะเปลี่ยนแปลงไปด้วย
13. สัญลักษณ์ของธาตุคลอรีน
ไนโตรเจน และสังกะสี
คือข้อใด
ก. Cl , Ni , Sn
ข. Cu , N
,Sn
ค. Cu , Ni , Zn
ง. Cl , N
, Zn
14.สารประกอบ
Ca(HCO3)2
มีอัตราส่วนของอะตอม Ca : H : O
เป็นเท่าไร
ก. 1 : 2 : 1
ข. 1: 1 : 2
ค. 1 : 2 : 6
ง. 1: 1 :6
15. ถ้ามีแท่งเหล็ก 2
แท่งที่มีแรงดึงดูดกันจะสรุปได้อย่างไร
ก.
แท่งเหล็กทั้ง 2
เป็นแม่เหล็กทั้งคู่
ข.
แท่งเหล็กทั้ง 2
แท่งเป็นสารแม่เหล็กทั้งคู่
ค.แท่งเหล็กทั้ง 2
แท่ง
ต้องมีแท่งหนึ่งเป็นแม่เหล็กอีกแท่งเป็นสารแม่เหล็ก
ง.อาจเป็นได้ทั้ง
ก และ ค
16 . อุปกรณ์อะไรที่ไม่จำเป็นต้องมีสารแม่เหล็กเป็นองค์ประกอบ
ก.
เข็มทิศ
ข. นาฬิกา
ค. โทรศัพท์
ง.
ไดนาโม
17. จงนำข้อมูลจากภาพที่แสดงทิศทางของเส้นแรงแม่เหล็ก
2 แท่งนี้ไปตอบคำถาม

ข้อใดกล่าวถึงขั้วแม่เหล็กทั้งสองแท่งได้ถูกต้อง
|
แม่เหล็กแท่งที่
1 |
แม่เหล็กแท่งที่
2 |
|
ขั้วเหนือ |
ขั้วใต้ |
ขั้วเหนือ |
ขั้วใต้ |
ก. |
A |
B |
P |
Q |
ข. |
A |
B |
Q |
P |
ค. |
B |
A |
P |
Q |
ง. |
B |
A |
Q |
P |
18. ข้อใดเป็นวิธีการตรวจสอบว่าแท่งโลหะแท่งหนึ่งเป็นแม่เหล็กหรือไม่
ก.
นำแท่งโลหะนั้นไปคลุกผงตะไบเหล็ก
ข.นำแท่งโลหะขึ้นแขวนให้แกว่งได้คล่องในแนวราบ
ค.นำปลายหนึ่งของแท่งโลหะนั้นเข้าใกล้
ปลายหนึ่งของเข็มทิศ
ง.ทั้งข้อ ก, ข และ ค
19. สนามแม่เหล็กคืออะไร
ก.
บริเวณรอบ ๆ แท่งแม่เหล็ก
ข.
บริเวณใกล้ขั้วเหนือ
และขั้วใต้ของแท่งแม่เหล็ก
ค.
บริเวณระหว่างแท่งแม่เหล็กกับโลหะอื่นที่นำมาใกล้แม่เหล็ก
ง. บริเวณรอบ ๆ
แท่งแม่เหล็กที่แม่เหล็กสามารถส่งอำนาจแม่เหล็กไปถึง
20.
สนามแม่เหล็กโลกที่ห่อหุ้มโลกเราไว้นี้ให้ประโยชน์ต่อโลกอย่างไรบ้าง
เมื่อกำหนดให้
1 = ทำให้แร่แมกนีไทต์กลายเป็นแม่เหล็กตามธรรมชาติได้
2 =
ช่วยป้องกันรังสีบางชนิดในอวกาศให้เข้าสู่โลกในปริมาณที่พอเหมาะ
3 =
ทำให้เข็มทิศวางตัวในแนวนอนได้
ข้อความที่ถูกต้อง
คือ
ก.
ข้อ 1 และ 2
ข.
ข้อ 1 และ 3
ค.
ข้อ 2 และ 3
ง. ข้อ
1 , 2 และ 3
|