 
ในหนังสือเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์หรือดาราศาสตร์ จะพบการใช้เลขยกกำลังแสดงจำนวน
ที่มีค่ามากๆหรือจำนวนที่มีค่าน้อยๆ เช่น
- ดวงอาทิตย์มีมวลประมาณ กิโลกรัม
- ในสุญญากาศแสงเคลื่อนที่ได้ระยะทาง 1 กิโลเมตรในเวลาประมาณ วินาที
จะเห็นได้ว่า และ ข้างต้น เป็นตัวอย่างการใช้สัญลักษณ์แทนจำนวน
อีกรูปแบบหนึ่ง ซึ่งเขียนในรูปการคูณของเลขยกกำลังที่มีฐานเป็นสิบและเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
มีรูปทั่วไปเป็น

ที่มา : http://www.nmk.ac.th/cooc/yupin14.htm
จำนวนที่เขียนในรูป และ n เป็นจำนวนเต็ม เรียกว่า
"สัญกรณ์วิทยาศาสตร์" (Scientific notation)
เรานิยมเขียนจำนวนที่มีค่ามากๆ หรือค่าน้อยๆ ในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์
 
|